การตรวจสอบอุปกรณ์ตรวจจับควัน
การตรวจสอบอุปกรณ์ตรวจจับควัน มีหลักการ โดยการให้มีควันไหลเวียนในกล่อง (Chamber) เมือปริมาณควันถึงจุดที่กำหนดเพื่อกระตุ้นให้ระบบทำงาน ซึ่งการตรวจสอบที่นิยม คือการสร้างควัน หรือสภาวะควันจำลอง ให้เข้าไปไหลเวียนในกล่อง (Chamber) ของอุปกรณ์ตรวจจับควัน
การสร้างควันกระทำได้หลายรูปแบบ ดังต่อไปนี้
1. การใช้ควันจากบุหรี่ วิธีนี้ไม่ค่อยดีนักเนื่องจาก
- จะมีเขม่าตกค้างใน อุปกรณ์ตรวจสอบควันชนิด ไอไนเซชั่น (Smoke Detector Ioniztion Type) บนแผ่น Screen ซึ่งอาดจะทำให้อุปกรณ์ตรวจจับควันทำงานผิดพลาดได้
- เมื่อเข้าไปตรวจสอบในบางสถานที่ ที่ห้ามสูบบุหรี่ จะใช้วิธีนี้ไม่ได้
- เมื่อเข้าไปตรวจสอบในสถานที่ มีวัตถุไวไฟ หรือวัตถุระเบิดก็ไม่เหมาะสมที่จะใช้วิธีนี้
- ถ้าต้องตรวจสอบมากมะเร็งคงถามหาก่อนเป็นแน่
รูป ภายในอุปกรณ์ตรวจจับควันชนิด ไอไนเซชั่น (Smoke Detector Ionization Type)
ข้อดีความสูงที่ติดตั้ง | ระยะห่างจากฝ้าเพดาน หรือหลังคาไม่น้อยกว่า (มิลลิเมตร) | ||
(เมตร) | อุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดลำแสง | อุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดจุด | |
3.5 | 300 | 25 | |
4.0 | 300 | 40 | |
6.0 | 300 | 100 | |
8.0 | 300 | 175 | |
10.0 | 350 | 250 | |
10.5 | 360 | 270 | |
12.0 | 400 | - | |
14.0 | 450 | - | |
16.0 | 500 | - | |
18.0 | 550 | - | |
20.0 | 600 | - | |
22.0 | 650 | - | |
24.0 | 700 | - | |
25.0 | 750 | - |
ตัวแทนจำหน่าย | ผลิตภัณฑ์ยี่ห้อ | website |
บจก โฮมอินโฟเทนเมนท์ แอนด์ ซีเคียวริตี้ | http://www.homeinfo-security.com/product_Fire_smoke.html |
ยินดีต้อนรับสู่ คลังความรู้ด้านความปลอดภัย Safety Shoe Safety Knowledge Center (http://www.siamsafetyplus.com/forum/) | Powered by Discuz! 7.0.0 |